The roles of uh/um in conversational management and implications for teaching English conversation

Published date
2010
Resource type
Publisher
Assumption University Press
ISBN
ISSN
DOI
Call no.
Other identifier(s)
Edition
Copyrighted date
Language
eng
File type
application/pdf
Extent
Other title(s)
Advisor
Other Contributor(s)
Assumption University. Graduate School of English
Citation
The New English Teacher 4, 1 (January 2010), 104-124
Degree name
Degree level
Degree discipline
Degree department
Degree grantor
Abstract
The ubiquitous uh/um (with alternate spellings of er, ah) in English conversation have had limited analysis in spoken discourse, generally being included under the undifferentiated label "hesitation expressions''. This paper first reviews how these utterances are represented in a variety of dictionaries, mostly for English as a Second Language users. Research in theirfunction in spoken discourse is examined in terms of the interactive functions they have in spontaneous dyadic interaction as well as casual story telling and informal tutorials. The analysis isframed by the dominant exchange structure processes (Berendt 1988, 2006). Three strategic discourse functions have beenfound in the data samples: preparatory expressions, tur'n keeping and emphasis of key expressions, providing important oral signals for managing the flow of a conversation. These function as vital signals to give coherence in the negotiation of interactive meaning. The data includes spontaneous conversation/ chatting, casual narratives, group discussion, informal tutorial lecture and argumentative complaints. Implications of these strategic signals for managing and developing spontaneous speech are discussed for second language learners with suggestions for robust conversational management.
การใช้เสียง อ้า/อึม/ (uh/um) (ซึ่งอาจจะสกดด้วย er หรือ ah) ในการสนทนาภาษาอังกฤษได้มีการวิเคราะห์อย่างจำกัดในปริจเฉทการพูด โดยทั่วๆ ไปจะกล่าวกว้างๆ ว่าเป็น "การแสดงความลังเล" งานวิจัยนี้จะทบทวนว่าการเปล่งเสียงเหล่านี้มีอยู่ในพจนานุกรมภาษาอังกฤษสำหรับผู้ที่ใช้อังกฤษเป็นภาษาที่สองชนิดต่างๆ ส่วนมากอย่างไรส่วนมาก งานวิจัยหน้าที่ของการใช้เสียง อ้า/อึม ในปริจเฉทการพูดจะพิจารณาบทบาทของปฏิกิริยาสัมพันธ์ที่มีในปฏิกิริยาสัมพันธ์สองทางซึ่งเกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน รวมทั้งการเล่าเรื่องแบบไม่เป็นทางการและการติวอย่างไม่เป็นทางการ การวิเคราะห์นี้จะพิจารณากระบวนการการสนทนาแลกเปลี่ยนหลัก (Berendt 1988, 2006) มีการพบบทบาทปริจเฉท ยุทธวิธีในข้อมูลตัวอย่างคือ สำนวนการเตรียมพร้อม การผลัดกันพูด การไม่ยอมผลัดให้ผู้อื่นพูดและการเน้นสำนวนหลัก โดยการให้สัญญาณการพูดที่สำคัญในการควบคุมการลื่นไหลของการสนทนา ยุทธวิธีเหล่านี้มีบทบาทสำคัญในการเป็นสัญลักษณ์ที่จำเป็นต่อการดำเนินการพูดหรือการต่อรองที่มีความหมายและความต่อเนื่องกัน ข้อมูลที่ใช้มีการสนทนาหรือพูดคุยไปตามธรรมชาติ การเรื่องเล่าอย่างไม่เป็นทางการ การอภิปรายกลุ่ม การบันยายแบบติวอย่างไม่เป็นทางการ และ การโต้แย้งในการร้องทุกข์ ความหมายโดยนัยของยุทธิวธีของสัญลักษณ์เหล่านี้คือการถกเรื่องการควบคุมและพัฒนาการลื่นไหลของการสนทนาให้เป็นไปตามธรรชาติสำหรับการเรียนภาษาที่สองขอบผู้เรียนพร้อมทั้งข้อเสนอแนะที่ดีสำหรับการควบคุมการสนทนา
Table of contents
Description
In English ; abstract in English and Thai.
punsarn.dc.description.sponsorship
Spatial Coverage
Rights
This work is protected by copyright. Reproduction or distribution of the work in any format is prohibited without written permission of the copyright owner.
Access rights
Rights holder(s)
Location
View External Resources