ปรัชญาการศึกษา

Published date
2549-2552
Resource type
Publisher
บริษัท นำทองการพิมพ์ จำกัด
ISBN
974-94536-3-8
ISSN
DOI
Call no.
Other identifier(s)
Edition
Copyrighted date
Language
tha
File type
application/pdf
Extent
25 หน้า
Other title(s)
Advisor
Other Contributor(s)
Citation
ปรัชญาในสังคมไทย หน้า 145-169
Degree name
Degree level
Degree discipline
Degree department
Degree grantor
Abstract
การศึกษาของไทยคัดลอกหรือถอดแบบมาจากตะวันตก โดยปราศจากการเข้าใจรากเหง้าของอารยธรรมตะวันตก ผลที่เกิดขึ้นตามมาก็คือแวดวงการศึกษาในบ้านเราหลงไปตามกระแสโดยปราศจากการใช้วิจารณญาณในการตรวจสอบไตร่ตรอง นักการศึกษาบ้านเราไม่รู้จักหรือลืมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าในกาลามสูตร ดังนั้นจึงรับแนวความคิดของนักปรัชญาตะวันตกบางคน เช่น จอห์น ดิวอี้ โดยไม่รู้ที่มาที่ไปและปราศจากการพิจารณาว่าเหมาะแก่กาลเทศะหรือไม่ ในงานวิจัยนี้ ผู้เขียนพยายามชี้ประเด็นให้เป็นว่าความคิดเห็นของดิวอี้ด้านการศึกษานั้นไม่ได้ถูกต้องหมดทุกอย่าง แนวความคิดของดิวอี้ในทางด้านการศึกษานั้นมีทั้งจุดอ่อนจุดแข็งเช่นเดียวกับแนวความคิดของนักปรัชญาคนอื่นๆ ถ้าหากเราปรารถนาที่จะเห็นหรือได้มาซึ่งการศึกษาแบบบูรณาการอย่างแท้จริงแล้ว ย่อมไม่อาจมองข้ามแนวความคิดของปราชญ์คนอื่นๆ ได้ การที่ดิวอี้บอกว่าการศึกษาคือชีวิต เป็นการให้นิยามที่ถูกต้องเพียงส่วนเดียวเพราะชีวิตของคนเราไม่ได้มีเพียงแต่มิติปัจจุบันเท่านั้น แต่ยังมีมิติของอดีตและอนาคตอีกด้วย ดังนั้นการศึกษาที่เป็นแบบบูรณาการอย่างแท้จริงจึงต้องครอบคลุมมิติของอดีตและอนาคตด้วย ในมิติของอดีตการศึกษาหมายถึงการมองย้อนกลับเพื่อเข้าในชีวิต ส่วนในมิติของอนาคตนั้นการศึกษาเป็นการเตรียมตัวเพื่อการใช้ชีวิต
Table of contents
Description
punsarn.dc.description.sponsorship
Spatial Coverage
Subject(s)
Keyword(s)
Rights
Access rights
Rights holder(s)
Location
View External Resources
Collections