Consumer test and food pairing of developed cashew nut butter

Published date
2015
Resource type
Publisher
ISBN
ISSN
DOI
Call no.
Other identifier(s)
Edition
Copyrighted date
Language
eng
File type
application/pdf
Extent
6 pages
Other title(s)
Advisor
Other Contributor(s)
Citation
The 3 rd Annual Meeting of Thailand Sensory Science and Consumer Research Network 2015
Degree name
Degree level
Degree discipline
Degree department
Degree grantor
Abstract
The purpose of this research was to conduct a consumer test and food pairing test on a new developed butter product. Butter was produced from roasted broken cashew nut blended with trans-fat free hydrogenated vegetable oil, salt and sugar. A consumer test was conducted by a hundred consumers. of consumers accept the developed product with the overall liking score of . ± . for cashew nut butter and . ± . for bread sticks coated with cashew nut butter. Product pairing between the developed cashew nut butter with eight different types of food was evaluated by seventy-five panelists. This was to identify product harmony by evaluating each pair of product on a 10-point matching score (0 refers to no match and 10 refers to ideal match) and then ranking them from least match (1st rank) to best match (8th rank). Product pairing was carried out by dividing into two groups. First group of product (pineapple jam, strawberry jam, cocoa and cream cheese) was tested by mixing with cashew nut butter and spreading on white milk bread. A second group of product, cashew nut butter was coated on the bread stick with four different types of food (chopped dried cranberry, chopped dried pineapple, cereal and honey). The results showed that the highest score of matching level belonged to dried cranberry, cereal and dried pineapple (8.7, 8.0, and 7.7, respectively). This is also compliance with the ranking sum results. Best match to the developed cashew nut butter product was chopped dried cranberry coated on bread sticks, following by dried pineapple and cereal (P < 0.05).
งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาการยอมรับของผู้บริโภคและการเข้ากันได้ของอาหารต่อผลิตภัณฑ์เนยชนิดใหม่ที่พัฒนาขึ้น ซึ่งผลิตจากเศษเม็ดมะม่วงหิมพานต์ น้ำมันพืชปราศจากไขมันทรานส์ เกลือและน้ำตาล จากการศึกษาการยอมรับของผู้บริโภคจำนวน 100 คนพบว่า ผู้บริโภค 94% ยอมรับผลิตภัณฑ์ที่พัฒนาดังกล่าว และมีค่าความชอบโดยรวมเฉลี่ยเท่ากับ 6.9±1.3 สำหรับผลิตภัณฑ์เนยเม็ดมะม่วงหิมพานต์และ 7.5±1.1 สำหรับขนมปังแท่งอบกรอบเคลือบเนยเม็ดมะม่วงหิมพานต์ เมื่อทำการศึกษาการเข้ากันได้ของอาหารระหว่างผลิตภัณฑ์เนยเม็ดมะม่วงหิมพานต์กับอาหารจำนวน 8 ชนิด ทดสอบโดยผู้บริโภคจำนวน 75 คน เพื่อต้องการศึกษาความเข้ากันได้ของผลิตภัณฑ์ทำการทดสอบแต่ละคู่ของชนิดอาหารโดยใช้สเกลการเข้าคู่ระดับ 10 คะแนน (0 หมายถึง ไม่เข้าคู่กัน และ 15 หมายถึงเข้าคู่กันตามอุดมคติ) และให้ผู้ทดสอบทำการเรียงลำดับชนิดอาหารที่เข้าคู่กันน้อยที่สุด (ลำดับที่ 1) ไปถึงชนิดอาหารที่เข้าคู่กันมากที่สุด (ลำดับที่ 8) ในการศึกษาการเข้าคู่กันของอาหารนี้ ทำการแบ่งกลุ่มอาหารเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มแรกได้แก่ แยมสับปะรด แยมสตอเบอรี่ ผงโกโก้และครีมชีส นำมาผสมรวมกับเนยเม็ดมะม่วงหิมพานต์ รับประทานร่วมกับขนมปังแผ่น กลุ่มที่สอง ได้แก่ แคนเบอรี่อบแห้งและสับปะรดอบแห้งหั่นละเอียด ะัญพืชอบกรอบและน้ำผึ้ง นำมาฝสมรวมกับเนยเม็ดมะม่วงหิมพานต์และเคลือบบนขนมปังแท่งอบกรอบ จากผลการทดสอบพบว่า แคนเบอรรี่อบแห้งได้รับคะแนนการเข้าคู่กันสูงที่สุด ตามมาด้วยธัญพืชอบกรอบและสับปะรดอบแห้ง ด้วยคะแนน 8.7, 8.0 และ 7.7 ตามลำดับ ซึ่งให้ผลที่สอดคล้องกับผลการเรียงลำดับการเข้าคู่กัน โดยการเข้าคู่กันสูงที่สุดอันดับแรกคือ แคนเบอรี่อบแห้ง และอันดับที่สองคือ ธัญพืชอบกรอบและสับปะรดอบแห้งที่ความเชื่อมั่นทางสถิติ 95%
Table of contents
Description
punsarn.dc.description.sponsorship
Spatial Coverage
Subject(s)
Rights
Access rights
Rights holder(s)
Location
View External Resources