Managers' preferences for qualifications of new graduates in logistics

Published date
2016
Resource type
Publisher
Assumption University Press
ISBN
ISSN
1905-9566
DOI
Call no.
Other identifier(s)
Edition
Copyrighted date
Language
eng
File type
application/pdf
Extent
18 pages
Other title(s)
Advisor
Other Contributor(s)
Citation
Journal of Supply Chain Management: Research & Practice 10, 1 (June 2016), 24-41
Degree name
Degree level
Degree discipline
Degree department
Degree grantor
Abstract
The purpose of this paper is to address logisticians' qualifications compared to employers' preferences. The use of seven determinants in this study is based on Service Performance Units (SPU). The five domains are Reliability, Rates, Resources, Risk Avoidance, and Responsiveness. The support framework is based on the Thai Qualifications Framework (TQF). The TQF five key attributes are: 1) Development of Morals and Morality (Behavioral Ethics), 2) Knowledge and Ability Skill, 3) Ingenious and Intellectual Skill, 4) Interpersonal Relation with Task Responsibility, and 5) Analytical Decision Making and Communication (Information Technology Application Skill). Mixed methods are employed with both qualitative and quantitative methodologies. First, the attributes of qualified logisticians were reviewed. Second, the hired logisticians' attributes as perceived by employers' were obtained by face-to-face interviews and questionnaires, to investigate all related attributes of the new graduates. The research used exploratory and face-to-face interviews with 20 management level exhibitors at the Thailand Logistic Fair 2012 (TILOG2012) to verify the research tool. The research survey was conducted on 42 samples by the random sampling method, from 20 initial and 22 subsequent survey respondents through 60 questionnaires via the Thailand International Freight Forwarder Association (TIFFA) and responses received from its members. To prove the research tool was without acquiescence bias, the test of normality is presented in the demographic part of this report. Data was analyzed by means of standard deviation, correlation, and coefficients of regression. Findings are presented using four method facets (Mean, Alpha, Model Summary, and Predictors in Multiple Regressions) with results in two groups: all logisticians in all fields of service, and only 3rd party logistics (3PL) in transport. This survey leads to confirmatory factors in building up an examined research tool in the new area of employers' preferences perspective in logistics service and transport sectors. This study contributes to academicians and lectures consideration to redesigning the teaching-learning courses, as well as the managers' requirement of desirable attributes from new graduates as new trainees' qualifications.
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาความสัมพันธ์ในคุณลักษณะพึงจำเป็นของนักโลจิสติกส์ในอุตสาหกรรมโลจิสติกส์และสาขาบริการขนส่งระหว่างประเทศในประเทศไทย จากมุมมองตามความเห็นของผู้ใช้บัณฑิต โดยใช้ 7 ปัจจัยเป็นสวนขยายงานของ หน่วยวัดบริการประสิทธิภาพการทำงาน (5R's) ได้แก่ ความน่าเชื่อถือ อัตรา ทรัพยากร การปลิดความเสีี่ยง และการตอบสนอง ภายใต้กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (Thai Qualifications Framework, TQF) ที่มีคุณลักษณะที่สำคัญ 5 ด้าน ได้แก่ 1) คุณธรรมและจริยธรรม (จริยธรรมพฤติกรรม) 2) ความรู้ความสามารถทักษะ 3) ไหวพริบและทักษะทางปัญญา 4) ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และ 5) การตัดสินใจเชิงวิเคราะห์และการสื่อสาร (ทักษะการประยุกต์ใช้ข้อมูลและเทคโนโลยี) วิธีวิจัยใช้การผสมผสานเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณประการแรกวิธีเชิงคุณภาพผ่านการทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยก่อนหน้า วิธีที่สอง เชิงปริมาณใช้การสัมภาษณ์แบบเผชิญหน้า เพื่อทราบถึงคุณลักษณะที่นายจ้างต้องการ และทำการสำรวจด้วยแบบสอบถามที่ได้ไตร่ตรองถึงคุณสมบัติที่เกี่ยวข้องในการว่าจ้างบัณฑิตใหม่ การออกแบบเครื่องมือวิจัยที่ได้จากการสัมภาษณ์ระดับผู้บริหารจำนวน 20 รายที่เป็นผู้ร่วมแสดงงานไทยโลจิสติกส์แฟร์ 2012 (TILOG2012) สุ่มตัวอย่างจำนวน 42 รายใช้วิธีแบบแบ่งชั้น โดยผู้ตอบแบบสอบถาม 20 รายภายในงานและอีก 22 รายโดยการส่งแบบสอบถามผ่านทางสมาคมผู้ประกอบการขนส่งระหว่างประเทศ (TIFFA) ซึ่งเป็นสมาชิกที่ตอบแบบสอบถาม เพื่อการพิสูจน์ว่าแบบสอบถามนี้เป็นเครื่องมือที่ปราศจากอติโนการนำไปใช้จึงได้เสนอการแจกแจงปกติในส่วนประชากรศาสตร์ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมา่ตรฐานของความสัมพันธ์และค่าสัมประสิทธิ์ภายใต้การถดถอยผลการวิจัยที่ถูกนำเสนอออกเป็นสี่วิธีการ (ค่าเฉลี่ย ค่าสัมประสิทธิ์ ค่าสรุปแบบจำลอง และการพยากรณ์ในสมการถดถอยพหุคูณ) ผลลัพธ์แบ่งออกเป็นสองกลุ่ม (ในทุกสาขาที่ให้บริการโลจิสติกส์ และกลุ่ม 3PL เฉพาะสาขาขนส่งระหว่างประเทศ) การวิจัยครั้งนี้เป็นการทดสอบนำร่องเพื่อยืนยันปัจจัยในการสร้าง เครื่องมือเพื่อการวิจัยในอนาคต เป็นงานนำในมิติใหม่ของมุมมองจากนายจ้างในสาขาการให้บริการโลจิสติกส์ งานวิจัยชิ้นนี้เป็นประโยชน์ต่อนักวิชาการและอาจารย์ในการในการออกแบบหลักสูตรการเรียนการสอน รวมถึงความต้องการของผู้ปฏิบัติงานในด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์จากนายจ้างสำหรับผู้สำเร็จการศึกษาใหม่เพื่อเป็นคุณสมบัติของผู้ฝึกงานรายใหม่
Table of contents
Description
punsarn.dc.description.sponsorship
Spatial Coverage
Rights
This work is protected by copyright. Reproduction or distribution of the work in any format is prohibited without written permission of the copyright owner.
Access rights
Rights holder(s)
Location
View External Resources