English
ไทย
Log In
Email address
Password
Log in
New user? Click here to register.
Have you forgotten your password?
Communities & Collections
All of AU-IR
Home
2 Faculties
2.03 Thomas Aquinas School of Law
Journal Articles
วารสารนิติศาสตร์
วารสารนิติศาสตร์: ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2559)
Browse by Subject
วารสารนิติศาสตร์: ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2559)
Permanent URI for this collection
https://repository.au.edu/handle/6623004553/19358
Browse
Recent Submissions
Title
Issue Date
Advisor
Author
Subject
Submit Date
Resource Types
Recent Submissions
Title
Issue Date
Advisor
Author
Subject
Submit Date
Resource Types
Browsing วารสารนิติศาสตร์: ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2559) by Subject "Catastrophe"
0-9
A
B
C
D
E
F
G
H
I
J
K
L
M
N
O
P
Q
R
S
T
U
V
W
X
Y
Z
ก
ข
ฃ
ค
ฅ
ฆ
ง
จ
ฉ
ช
ซ
ฌ
ญ
ฎ
ฏ
ฐ
ฑ
ฒ
ณ
ด
ต
ถ
ท
ธ
น
บ
ป
ผ
ฝ
พ
ฟ
ภ
ม
ย
ร
ล
ว
ศ
ษ
ส
ห
ฬ
อ
ฮ
(Choose start)
0-9
A
B
C
D
E
F
G
H
I
J
K
L
M
N
O
P
Q
R
S
T
U
V
W
X
Y
Z
ก
ข
ฃ
ค
ฅ
ฆ
ง
จ
ฉ
ช
ซ
ฌ
ญ
ฎ
ฏ
ฐ
ฑ
ฒ
ณ
ด
ต
ถ
ท
ธ
น
บ
ป
ผ
ฝ
พ
ฟ
ภ
ม
ย
ร
ล
ว
ศ
ษ
ส
ห
ฬ
อ
ฮ
Browse
Results Per Page
1
5
10
20
40
60
80
100
Sort Options
Ascending
Descending
Item
ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการประกันภัยพิบัติ
(
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ,
2559
)
กรกมล พุทธซ้อน
ภัยพิบัติแต่ละครั้งไม่ว่าจะเกิดจากแผ่นดินไหว อัคคีภัย อุทกภัย หรือสึนามิ ล้วนสามารถสร้างความเสียหายต่อชีวิต ทรัพย์สิน สังคมและเศรษฐกิจกับพื้นที่ที่เกิดเหตุการณ์นั้นขึ้น กรณีประเทศไทยจากเหตุการณ์อุทกภัยเมื่อปี พ.ศ. 2554 นอกจากเกิดความเสียหายในด้านต่างๆ ดังกล่าวแล้ว ยังพบว่าได้ส่งผลกระทบต่อธุรกิจประกันวินาศภัยเป็นอย่างมากเช่นกัน จึงได้มีการตราพระราชกำหนดกองทุนส่งเสริมการประกันภัยพิบัติ พ.ศ. 2555 เพื่อให้มีการจัดตั้งกองทุนส่งเสริมการประกันภัยพิบัติขึ้น โดยทำหน้าที่บริหารความเสี่ยงโดยการรับประกันภัยและทำประกันภัยต่อตลอดจนให้ความช่วยเหลือทางด้านการเงินแก่ผู้ประกอบธุรกิจประกันวินาศภัย เป็นต้น แต่ยังคงพบปัญหาบางประการที่ควรนำมาพิจารณา ด้วยเหตุนี้ วิทยานิพนธ์นี้จึงมีวัถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัญหาที่เกิดจากการประกันภัยพิบัติ ทั้งนี้เพื่อศึกษาแนวความคิด หลักการและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประกันตภัยภัยพิบัติในประเทศไทยรวมทั้งแนวคิด และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประกันภัยพิบัติในต่างประเทศ ซึ่งจากการศึกษาเปรียบเทียบกับกฎหมายของต่างประเทศพบว่า ในประเทศญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกานับเป็นประเทศที่เผชิญกับภัยพิบัติอยู่บ่อยครั้ง เช่นแผ่นดินไหว อุทกภัย โดยลำดับ จึงได้จัดหามาตรการทางกฎหมายในการแก้ไขปัญหาและบรรเทาความเดือดร้อนด้วยวิธีการประกันภัย ประกอบกับมีแนวทางด้านกฎหมายในการช่วยลดความเสียหายจากภัยพิบัติซึ่งนำมาใช้ควบคู่กับการรับประกันภัย ดังนั้น การศึกษานี้จึงมุ่งเสนอแนะให้มีการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประกันภัยพิบัติ เพื่อให้การประกันภัยมีส่วนช่วยบรรเทาความเสียหายได้อย่างเหมาะสมยิ่งขึ้น
Previous
Next