Teaching to write right : looking at the "Process"

Published date
2012
Resource type
Publisher
ISBN
ISSN
DOI
Call no.
Other identifier(s)
Edition
Copyrighted date
Language
eng
File type
application/pdf
Extent
20 pages
Other title(s)
การสอนให้เขียนถูกต้อง : ดูที่ขบวนการ
Authors
Advisor
Other Contributor(s)
Citation
Manutsat Paritat: Journal of Humanities 34, 2 (July – December, 2012):33-52
Degree name
Degree level
Degree discipline
Degree department
Degree grantor
Abstract
This study investigated the language choices in the writing of freshmen students at an English medium university in Thailand in response to visual stimuli. The study involved identifying the genres and the lexico-grammatical features associated with such genres. 600 samples of writing were collected but only 72 were randomly selected from 12 students in order to compare their progress over a period of 14 weeks (one semester). The framework for the analysis of the students writing was based on a detailed approach to these texts as semantic units. But since meanings are realized through the lexico- grammatical system, it was felt that this was the most effective way of making an explicit interpretation of the texts that had some objectivity. This study focuses on the first part of a two part project involving first of all the ùprocessû, then a later study dealt with the ùproductû. The paper will discuss the development of the Nominal Group (NG) in the studentsû writing in THEME position as this was felt to be a major issue in the dominantly Descriptive, Recount and Narrative genres which it was hoped they would produce. The resulting analysis showed that the students had a limited knowledge of the different genres and used an equally limited range of lexico-grammatical choices. No discernible improvement was observed over the period of study. Possible reasons for this were, firstly the lack of awareness of the role and importance that genres play in their academic studies and secondly, an approach to teaching which did not include a grammar that was functionally based. Possible alternative ways of teaching are suggested.
ดร.ฟอเลย์ ได้สรุปผลการวิจัยที่มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ซึ่งกลุ่มผู้ทดลองเป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 1 จำนวน 600 คน แต่สุ่มเลือกงานเขียนจำนวน 72 ชิ้น จากนักศึกษา 12 คน โดยใช้เวลาในการทดลอง 14 สัปดาห์ เพื่อเปรียบเทียบพัฒนาการในการเขียนของนักศึกษาเหล่านี้กรอบงานวิจัยจะเน้นที่ รายละเอียดในการใช้สื่อจากตำราเพื่อให้นักศึกษาสื่อความหมายจากภาพที่เลือกมาโดยวิเคราะห์งานเขียนอย่างละเอียด ทั้งนี้เนื่องจากความหมายที่สื่อออกมาจะถูกกำกับโดยรูปแบบไวยากรณ์ที่ใช้ในการตีความจากสื่อที่มีความชัดเจนทำให้นักศึกษาสามารถสื่อความหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ การวิจัยนี้จึงเน้นในส่วนแรกของโครงการที่เกี่ยวข้องกับขบวนการในการเขียนของนักศึกษาในการเล่าเรื่องการบรรยายและการอธิบายเนื่อความที่เขียน ประเด็นที่นำเสนอ คือ ขีดจำกันในการใช้ภาษาของนัาศึกษาจะปรากฏให้เห็นจาการขาดทักษะหรือความสามารถในการใช้คำนามหลักอย่างเหมาะสมซึ่งนักศึษา เหล่านี้จะมีแนวโน้มในการใช้อนุประโยคสั้นๆในการเขียนดังนั้นการใช้รูปภาพเป็นสื่อจะทำให้นักศึกษามีตัวช่วยในการคิดอย่างสร้างสรรค์และจะช่วยพัฒนาทักษาการเขียนได้แม้ในช่วงระยะเวลาเพียง 14 สัปดาห์ ผลการทดลองพบว่า การเลื่อกใช้สื่ออย่างมีประสิทธิภาพเป็นตัวกำหนดแนวทางการเขียนของนักศึกษา จะทำให้นักศึกษาเข้าใจทั้งภาษาที่เป็นเชิงวิชาการและภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสมซึ่งเชื่อว่าการวิจัยดังกล่าวจะเป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอนแารเขียนภาษาอังกฤษของนักศึกษาต่อไปโดยผู้วิจัยได้ดำเนินการตามขั้นตอนที่เตียมมาอย่างเป็นระบบตามทฤษฎีการสอนของ ไวก๊อตสเกี้ยน (Vyotskian : 1962) ที่เชื่อว่าการเรียนภาษาจากการมีปฏิสัมพันธ์ในบริบทที่กำหนดและสอดคล่องกับประสบการณ์เดิมของผู้เรียนโดยสร้างสถานการณ์ให้ผู้เรียนเลือกใช้โครงงานสร้างภาษาที่จำเป็นในการสื่อสารในรูปแบบต่างๆ จะเป็นวิธีที่สัมฤทธิ์ผลมากที่สุด
Table of contents
Description
punsarn.dc.description.sponsorship
Spatial Coverage
Subject(s)
Rights
Access rights
Rights holder(s)
Location
View External Resources
Collections