หลักเกณฑ์การเยียวยาที่เหมาะสมแก่เหยื่อที่ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนโดยรัฐสำหรับประเทศไทย

Published date
2560
Resource type
Publisher
คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
ISBN
ISSN
2228-9526
DOI
Call no.
Other identifier(s)
Edition
Copyrighted date
Language
tha
File type
application/pdf
Extent
21 หน้า
Other title(s)
Suitable Reparation Standards for Thailand for the Victims of Human Rights Violations by the State
Advisor
Other Contributor(s)
Citation
วารสารนิติศาสตร์ 8, 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2560), 29-49
Degree name
Degree level
Degree discipline
Degree department
Degree grantor
Abstract
บทความนี้เป็นการสรุปใจความสำคัญจากดุษฎีนิพนธ์ที่ผู้เขียนได้ศึกษาโดยมีวัตถุประสงค์ในการศึกษาปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการเยียวยาชดใช้ความเสียหายที่เหมาะสมแก่เหยื่อผู้ถูกรัฐละเมิดสิทธิมนุษยชน ทั้งนี้ได้ศึกษาถึงปัญหาทางด้านกระบวนการในการเยียวยา รูปแบบของการเยียวยาชดใช้ค่าเสียหาย และวิธีในการคำนวณการชดใช้ความเสียหาย เพื่อเสนอแนะแนวปฏิบัติที่เหมาะสมสำหรับการเยียวยาและชดใช้ความเสียหายแก่ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการละเมิดสิทธิมนุษยชนโดยรัฐสำหรับประเทศไทย จากการศึกษาพบว่า การเยียวยาชดใช้ความเสียหายผ่านกระบวนการทางบริหารโดยรัฐบาลออกหลักเกณฑ์การเยียวยาเพื่อชดใช้ความเสียหายแก่เหยื่อผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการละเมิดสิทธิมนุษยชนโดยรัฐอย่างรุนแรงและกว้างขวาง ประเทศไทยควรออกแบบหลักเกณฑ์การเยียวยาที่เหมาะสมโดยพิจารณาถึงปัจจัยดังต่อไปนี้ ความครอบคลุม (ในแง่ของคำนิยามของเหยื่อและผู้ได้รับประโยชน์) ความซับซ้อน (ในแง่ของความหลากหลายของรูปแบบการเยียวยาชดใช้ความเสียหาย) การสื่อสาร กระบวนการมีส่วนร่วมของเหยื่อ และการติดตามผลของหลักเกณฑ์การเยียวยาชดใช้ความเสียหายที่ได้มีการบังคับใช้ไปแล้ว สำหรับการละเมิดสิทธิมนุษยชนโดยรัฐ เช่น เหตุการณ์ความรุนแรงทางการเมืองนั้น การเยียวยาที่เหมาะสมจำต้องประกอบด้วยการเยียวยาที่เป็นตัวเงิน อันประกอบด้วยค่าเสียหายที่คำนวณเป็นตัวเงินได้ และค่าเสียหายเชิงศีลธรรม ซึ่งคำนวณโดยวิธีการคำนวณตามมาตรฐานสากล นอกจากนี้ยังจำต้องประกอบด้วยการเยียวยาชดใช้ความเสียหายในรูปแบบที่มิใช่ตัวเงิน และการเยียวยาเชิงสัญลักษณ์อีกด้วย
Thailand has confronted prolonged political conflict since 1973, which many times led to serious violations of human rights by state agencies. Thus, like other transitional states, Thailand has been attempting to bring peace and reconciliation through the concept of transitional justice. However, pathway to national reconciliation is not possible without one essential element, “reparations” for the victims who suffered by the human rights violations. The research was conducted by means of qualitative research which emphasized on legal analysis of the laws related to the issue of reparations, forms of reparations, and the calculation method of both monetary and non-monetary reparations to answer the main research question of what would be considered as appropriate reparations for the victims of human rights violations by the state for Thailand. According to the study, transitional administrative reparations program is a preferable approach to reparations for the victims of massive and serious violations of human rights by the state. A well-crafted reparations program shall be designed by considering the factors namely comprehensiveness, complexity, participatory process, and healing effect of the reparations providing. Administrative reparations in terms of monetary and non-monetary shall be granted to the injured victims and beneficiaries.
Table of contents
Description
punsarn.dc.description.sponsorship
Spatial Coverage
Rights
This work is protected by copyright. Reproduction or distribution of the work in any format is prohibited without written permission of the copyright owner.
Access rights
Rights holder(s)
Location
View External Resources