• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   AU-IR Home
  • 2 Faculties
  • 2.03 Thomas Aquinas School of Law
  • Journal Articles
  • วารสารนิติศาสตร์
  • วารสารนิติศาสตร์: ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2563)
  • View Item
  •   AU-IR Home
  • 2 Faculties
  • 2.03 Thomas Aquinas School of Law
  • Journal Articles
  • วารสารนิติศาสตร์
  • วารสารนิติศาสตร์: ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2563)
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of AU-IRCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsResource Types

My Account

LoginRegister

มาตรการทางกฎหมายในการควบคุมการค้าประเวณี

by ณปภัช เลาหกาญจนกิจ

Title:

มาตรการทางกฎหมายในการควบคุมการค้าประเวณี

Other title(s):

Legislative Measures Concerning with the Control of Prostitution

Author(s):

ณปภัช เลาหกาญจนกิจ

Issued date:

2563

Publisher:

คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

Citation:

วารสารนิติศาสตร์ 11, 1 (มกราคม-มิถุนายน 2563), 122-139

Abstract:

การค้าประเวณีในประเทศไทยเป็นอาชีพที่ผิดกฎหมายตั้งแต่ปีพ.ศ.2503 แม้ภายหลังจะมีการออก กฎหมายมาเพื่อปราบปรามการค้าประเวณีรวมถึงแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์แต่หาทำให้การค้าประเวณีใน ประเทศไทยลดน้อยลงแต่อย่างใด จากการศึกษาถึงที่มาของปัญหาส่วนหนึ่งมาจากความต้องการทางเพศของ มนุษย์ประกอบกับสังคมทุนนิยมที่บุคคลบางกลุ่มเลือกจะประกอบอาชีพนี้เนื่องจากง่ายต่อการสร้างรายได้รวม ไปถึงชื่อเสียงด้านการค้าบริการทางเพศนั้นเป็นที่รู้จักกันดีในสายตาของชาวต่างชาติอีกทั้งการบังคับใช้ กฎหมายจากเจ้าหน้าที่รัฐบางส่วนยังมีความบกพร่อง ไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ไร้ซึ่งประสิทธิภาพในการบังคับใช้ สาเหตุนั้นมาจากเจ้าหน้าที่รัฐบางหน่วยงานเกิดกระทำการทุจริตต่ออำนาจหน้าที่ของตนเพื่อผลประโยชน์ที่ ได้รับจากการลักลอบค้าประเวณีปัญหาจากตัวกฎหมายและจากการบังคับใช้กฎหมายอย่างไม่จริงจังจึงส่งผล กระทบแก่บุคคล 3 กลุ่มที่เกี่ยวข้องกับการค้าประเวณี คือ ผู้ค้าประเวณี ผู้ประกอบการค้าประเวณี และผู้ดำรง ชีพจากรายได้ของผู้ค้าประเวณี ซึ่งทั้งสามกลุ่มนี้มีความสำคัญอย่างมากต่อการค้าประเวณีในประเทศไทย
ดังนั้น ผู้เขียนจึงมีความต้องการศึกษาปัญหาของมาตรการทางกฎหมายในการควบคุมการค้าประเวณี เพื่อหาทางออกให้กับปัญหานี้และมีข้อเสนอแนะว่า ควรมีการแก้ไขกฎหมายในการการควบคุมการค้าประเวณี ของประเทศไทยให้ถูกต้องตามกฎหมาย โดยมีหลักเกณฑ์ ข้อบังคับ ระเบียบต่างๆที่ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการค้าประเวณีสามารถปฏิบัติตามได้ มีการกำหนดอัตราโทษที่สูงขึ้นแก่ผู้ที่ฝ่าฝืนกฎหมายรวมไปถึงบทลงโทษที่ จริงจังแก่เจ้าหน้าที่รัฐบางส่วนที่ไม่บังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวด หรือทุจริตต่ออำนาจหน้าที่ของตนเพื่อเปิด โอกาสให้มีการลักลอบการค้าประเวณีที่ผิดกฎหมาย ทั้งนี้เพื่อเป็นการยกระดับการจัดการของเจ้าหน้าที่รัฐให้มี ประสิทธิภาพรวมไปถึงแก้ไขปัญหาจากการค้าประเวณีที่สะสมมาอย่างยาวนานในสังคม

The prostitution in Thailand has been an illegal occupation since 1960. Although subsequent legislation has been enacted to suppress prostitution, including resolving human trafficking, it did not decrease the prostitution in Thailand. Due to human sexual desire, coupled with the capitalism society that people choose to pursue in this profession because it is an easy way to make money as well as the sex industry is well known to foreigners. Law enforcement by some government officials is still defective and ineffective. The reasons are legal issues and some government officials have committed fraud against their duties for the benefit of illegal prostitution which is causing to affect three groups of people who are involved in the prostitution which are prostitutes, brothel-keeper, and pimps. These three groups are very important to sex industry in Thailand.

Therefore, the author would like to study the problems of legislative measures concerning with the control of prostitution in order to find a solution to this problem and suggests that there should be a law to regulate and control the prostitution in Thailand to be legal following with the rules, regulations that involved in prostitution. Moreover, imposing higher the penalties for those who violate the law, including serious penalties for some government officials that do not strictly enforce laws or fraud to their authority in order to allow illegal prostitution. Accordingly, to enhance the management of government officials to be effective and to solve problems from prostitution that has accumulated for a long time in Thailand.

Subject(s):

วารสารนิติศาสตร์
วารสารนิติศาสตร์ -- 2563

Keyword(s):

ผู้ค้าประเวณี
ผู้ประกอบการค้าประเวณี
ผู้ดำรงชีพจากรายได้ของผู้ค้าประเวณี
การบังคับใช้กฎหมาย
Prostitution
Brothel-keeper
Pimps
Law enforcement

Resource type:

Journal Article

Extent:

18 หน้า

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

This work is protected by copyright. Reproduction or distribution of the work in any format is prohibited without written permission of the copyright owner.

Rights holder(s):

มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

URI:

http://repository.au.edu/handle/6623004553/23811
Show full item record

View External Resources

Files in this item (EXCERPT)

Thumbnail
View
AU-lawj-23811.pdf ( 81.00 KB )

This item appears in the following Collection(s)

  • วารสารนิติศาสตร์: ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2563) [1]


Copyright © Assumption University.
All Rights Reserved.

Contact Us

The St. Gabriel's Library   
Hua Mak Campus  
Ramkhamhaeng 24, Hua Mak  
Bangkok Thailand 10240  
Tel.: (662) 3004543-62 Ext. 3402  
Fax.: (662) 7191544  
E-Mail Library : library@au.edu  


The Cathedral of Learning Library
Suvarnabhumi Campus
Bang Na-Trad Km. 26 Bangsaothong
Samuthprakarn Thailand 10540
Tel.: (662) 7232024, 7232025
Fax.: (662) 7191544
E-Mail Library : library@au.edu
 

 



Copyright © Assumption University.
All Rights Reserved.

Contact Us

The St. Gabriel's Library   
Hua Mak Campus  
Ramkhamhaeng 24, Hua Mak  
Bangkok Thailand 10240  
Tel.: (662) 3004543-62 Ext. 3402  
Fax.: (662) 7191544  
E-Mail Library : library@au.edu  


The Cathedral of Learning Library
Suvarnabhumi Campus
Bang Na-Trad Km. 26 Bangsaothong
Samuthprakarn Thailand 10540
Tel.: (662) 7232024, 7232025
Fax.: (662) 7191544
E-Mail Library : library@au.edu
 

 

‹›×