Articles

Permanent URI for this collection

Browse

Recent Submissions

Now showing 1 - 5 of 9
  • Item
    ซีเอสอาร์กับนวัตกรรมการสื่อสาร
    “ซีเอสอาร์ หรือ ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร” (Corporate Social Responsibility: CSR) เป็นแนวคิดที่ หลายองค์กรเริ่มหันมาให้ความสำคัญและนำไปประยุกต์ ใช้กับแผนการดำ เนินงานของตัวเองมากขึ้น โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในส่วนของภาคธุรกิจ (สถาบันธุรกิจเพื่อสังคม, 2556) ที่เดิมเคยมองว่า ซีเอสอาร์ เป็นเพียงตัวเลือกหนึ่ง จะนำ มาประยุกต์ใช้หรือไม่ก็ได้ ขึ้นอยู่ความพึงพอใจและ ความสมัครใจขององค์กรเอง แต่ปัจจุบันด้วยบทบาท ความสำคัญของนวัตกรรมที่มีมากขึ้นต่อการดำ เนินงาน ขององค์กร การนำแนวคิด ซีเอสอาร์มาผสมผสานเข้า กับกระบวนการผลิตสินค้าขององค์กร (McWilliams and Siegel, 2001, as cited in Preuss, 2011) รวมถึงกระแส สังคมที่เปลี่ยนแปลงไปและความคาดหวังที่เพิ่มขึ้นจาก ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ส่งผลให้องค์กรธุรกิจหันกลับมาให้ ความสำคัญกับการทำ ซีเอสอาร์กันอย่างจริงจัง (ญาณิศา สนธิจิรวงศ์, 2554) ไม่ใช่เพียงเพื่อสร้างภาพลักษณ์ที่ดี ขององค์กรหรือเพียงเพื่อหวังผลทางการตลาด แต่ต้อง สามารถนำไปสู่การพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืนได้ตามแนวคิด Triple Bottom Line ซึ่งประกอบด้วย 1. ด้านเศรษฐกิจ (Profit) คือ การทำให้ธุรกิจและ เศรษฐกิจของประเทศเติบโตไปพร้อมกัน 2. ด้านสังคม (Population / People) คือ การช่วยเหลือ เกื้อกูลสังคมรอบข้าง พัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในสังคม ให้ดีขึ้น และ 3. ด้านสิ่งแวดล้อม (Planet) คือ การดูแลรักษา สิ่งแวดล้อม มีกระบวนการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Dyllick and Hockerts, 2000, as cited in Branco and Rodrigues, 2006) รวมถึงดำ เนินกิจการด้วยความโปร่งใส ตามหลักธรรมาภิบาล ซึ่งจะนำไปสู่ความยั่งยืนของ องค์กรในระยะยาว (สถาบันธุรกิจเพื่อสังคม, 2556) ดังนั้น บทความวิชาการเรื่องนี้จึงเป็นการขยายมุมมองแนวคิด ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมซีเอสอาร์ นวัตกรรม และนวัตกรรม การสื่อสาร ในบริบทของการพัฒนาอย่างยั่งยืน
  • Item
    Humour 2.0: Styles and Types of Humour and Virality of Memes on Facebook
    This research analyzes the communication process of humorous memes in the most vibrant online phenomenon, Facebook. Through quantitative and qualitative content analysis of 1,000 memes shared on a Facebook page, this research tests the effect of various styles and types of humour on the virality of memes. Self-defeating is the most effective style of humour although it is not the most frequently used. By applying the typology used in the context of broadcast and print media, this study shows that although sarcasm and silliness are the two most prevalent types of humour used in Internet memes, no obvious differences can be observed in the effects of seven types of humour—comparison, personification, exaggeration, pun, sarcasm, silliness and surprise—on virality. Nevertheless, the authors develop the framework for humorous memes in social media communications by combining established communication models with the concepts and theories of humour and virality. The findings of this research may benefit practitioners who are involved in humour communications on social media. The framework and insights on the styles and types of humour in social media memes may also be helpful for researchers aiming to further explore the relevant topics.
  • Item
    การสื่อสารเรื่องความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจ: จากแนวคิดสู่ปฏิบัติการ และเส้นทางวิจัยที่ท้าทายในอนาคต
    การวิจัยในครั้งนี้เป็นการนำ เสนอความสำคัญและ หลักคิดเกี่ยวกับ “ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจ” รวมทั้งรวบรวมและเสนอแนวทางการปฏิบัติด้าน การสื่อสารเรื่องความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจ จากหลากหลายมิติ อาทิ การสื่อสารความรับผิดชอบต่อ สังคมขององค์กรอิงตามเจตนาในการสื่อสาร รูปแบบ การสื่อสาร ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรอิง ตามลักษณะของกิจกรรม/ช่องทางการสื่อสาร ตลอดจน วิเคราะห์ประเด็นท้าทายเรื่องการสื่อสารความรับผิดชอบ ต่อสังคมที่ถูกอภิปรายมาอย่างยาวนาน ทั้งในวงการ วิชาการและวิชาชีพในบริบททางวัฒนธรรมที่หลากหลาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริบทสังคมไทย นอกจากนั้นยังได้ สรุปแนวทางสำคัญของการสื่อสารความรับผิดชอบต่อ สังคมเพื่อสร้างมูลค่าร่วมในสังคมและประเด็นการศึกษา วิจัยด้านการสื่อสารความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร ธุรกิจในอนาคต
  • Item
    A review of emotional intelligence: Is it a trait or ability?
    Since the 1990s, emotional intelligence has gained enormous attention as a new construct that supplements cognitive intelligence in predicting life success. Cognitive intelligence has long been a traditional predictor of academic and business success. However, general intelligence explains about 20% of the factors that determine success in life (Golemen, 1995; Mayer & Salovey, 1997). Then, approximately 80% of life success is variously distributed among other factors such as personality traits, social skills, and environment. Emotional intelligence has been studied as a prominent factor among other success predictors. However, the conceptualization of emotional intelligence is still controversial. A major argument is whether emotional intelligence is a personality trait or ability. The major purpose of this paper is to provide a synthesis of previous studies for further discussion of three questions: (a) is emotional intelligence ability, (b) is emotional intelligence similar to personality traits, and (c) is emotional intelligence independent of cognitive intelligence.
  • Item
    Understanding the identity of the Thai Muslim Community of Kudi Khao in Thonburi, Bangkok
    Kudi Khao or Bang Luang Community is one of the oldest Thai-Muslim communities in Bangkok. Its history can be traced back to the time of the late Ayudhaya Dynasty. Some Thai Muslims migrated to the south of the Chao Phraya River. After the subsequent capital, Thonburi, was established, some had settled along the river near the capital where their descendants have resided until the present time. This Thai-Muslim community is located among diverse neighboring communities which today boast the motto of “One sub-district2, three religions." Kudi Khao’s unique blend of cultural identity illustrates an integration of cultural pluralism in the diverse ethnic environment of Thailand as seen through the physical features of the religious center, Kudi Khao, an Islamic mosque built in Thai architectural style and the people’s way of life intertwining Thai influence.