มุมมองนักศึกษากฎหมาย(Generation Z) ต่อคําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญกรณีการสมรสของคนเพศเดียวกัน

Published date
2564
Resource type
Publisher
คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
ISBN
ISSN
DOI
Call no.
Other identifier(s)
Edition
Copyrighted date
Language
tha
File type
application/pdf
Extent
24 หน้า
Other title(s)
Law student’s perspective on the decision of Thai constitutional court on the same-sex marriage
Advisor
Other Contributor(s)
Citation
วารสารนิติศาสตร์ 12, 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2564), 69-92
Degree name
Degree level
Degree discipline
Degree department
Degree grantor
Abstract
เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2564 ได้มีคําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญที่ 20/2564 เกี่ยวกับการสมรสของบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ (LGBTQ+) ในประเด็นที่ว่าประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1448 ไม่ขัดหรือแย้งกับมาตรา 4 มาตรา 5 มาตรา 25 มาตรา 26 และมาตรา 27 แห่งรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2560 โดยศาลรัฐธรรมนูญได้ให้เหตุผลว่าการสมรสนั้นต้องเป็นชายและหญิงตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 1448แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และเห็นว่าวัตถุประสงค์ของการสมรสเพื่อสืบเผ่าพันธุ์เท่านั้นอีกทั้งยังเห็นว่าเพศหญิงเพศชายมีการแบ่งแยกมาโดยธรรมชาติ (an act of god) ซึ่งผู้ที่ถือกําเนิดมานั้นเลือกไม่ได้ และหากให้บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศสมรสกันอาจเกิดกรณีการหวังผลประโยชน์จากสวัสดิการรัฐจากบุคคลภายนอกแต่อย่างไรก็ตามในมุมมองของผู้เขียนมีความเห็นว่าการสร้างครอบครัวถือเป็นสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน รากฐานของการสร้างครอบครัวนั้นเกิดจากการที่บุคคลยินยอม ตกลงที่จะใช้ชีวิตร่วมกันนํามาซึ่งการสมรสเมื่อมนุษย์มีการอยู่กันร่วมเป็นกลุ่มใหญ่มากขึ้น รัฐจึงต้องเป็นผู้กําหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการสมรสจากวิถีชีวิตของคนในสังคมซึ่งการรับรองสิทธิสถานะของมนุษย์ของรัฐควรปรับเปลี่ยนได้ตามกาลเวลาที่เหมาะสมต่อสภาพสังคมในยุคนั้นๆการสมรสไม่ควรมีการจํากัดให้สิทธิ กล่าวคือ การสมรสในปัจจุบันอาจไม่ได้มีไว้เพื่อดํารงเผ่าพันธุ์เท่านั้น อีกทั้ง เมื่อเพศมีความหลากหลายกฎหมายก็ยิ่งไม่ควรจํากัดไว้แค่ชายและหญิง ด้วยเหตุนี้ รัฐต้องรับรองสิทธิให้กับบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในฐานะที่เป็นมนุษย์และประชาชนของรัฐ ผลการศึกษาพบว่าปัจจุบันสังคมไทยมีการเปิดกว้างมากขึ้นเกี่ยวกับความหลากหลายทางเพศ(LGBTQ+) ดังนั้น บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศไม่ควรถูกเลือกปฏิบัติไม่ว่าด้วยเหตุอะไรก็ตาม
This study aims to studythe decision of the Thai Constitutional Court on the same-sex marriage to analyze the interpreting from the case due to the face that the constitutional court has interpreted the meaning of marriageand analyzing the interpretationof court decision that a partner (same-sex couple) filesa petition to constitutional court to decide whether section 1448 of Thai Civil and Commercial Code conflict to section 4, 5, 25, 26 and 27 of Thai ConstitutionB.E.2560or not.T h e c o u r t adjudicated that the objective of marriage is only to reproduce the clan. The idea of the court is specifying that humans have only two sexs (an act of god) which people can not determinewhat sex they want to born with. Moreover, if sex is not specified in the marriage, there may be some group of gender diversity peoplemay apply the marriage earnan advantagefrom the state-welfare.Nevertheless, in the writers’ perspective, creating a family is the human right where two people consent to be life partner, which leads them to be spouse. As, the duty of the state to regulate and protect the people of the state so that they can live with pride. Meaning that people shouldnot be discriminated for any reasons.
Table of contents
Description
punsarn.dc.description.sponsorship
Spatial Coverage
Rights
This work is protected by copyright. Reproduction or distribution of the work in any format is prohibited without written permission of the copyright owner.
Access rights
Rights holder(s)
Location
View External Resources