ปัญหาทางกฎหมายที่เกี่ยวกับการโฆษณาขายยาและผลิตภัณฑ์ เสริมอาหารเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ และเครื่องสำอางผ่านเวบไซต์

Published date
2559
Resource type
Publisher
ISBN
ISSN
2228-9526
DOI
Call no.
Other identifier(s)
Edition
Copyrighted date
Language
tha
File type
application/pdf
Extent
16 หน้า
Other title(s)
Legal Problems Related to Drug and Dietary Supplement, Cosmetics and Medical Supplies Advertisement via Website
Advisor
Other Contributor(s)
Citation
วารสารนิติศาสตร์ 7, 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2559), 113-128
Degree name
Degree level
Degree discipline
Degree department
Degree grantor
Abstract
ปัญหาทางกฎหมายที่เกี่ยวกับการโฆษณาผลิตภัณฑ์ขายยาและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร เวชภัณฑ์ทางการแพทย์และเครื่องสำอางผ่านเวปไซด์ มีการโฆษณาส่งเสริมการขายในหลายรูปแบบ ลักษณะการโฆษณามีทั้งโฆษณาโดยตรงต่อผู้บริโภค โฆษณาแฝง และโฆษณาเปรียบเทียบ ซึ่งในแต่ ละรูปแบบพบการโฆษณาที่ฝ่าฝืนกฎหมายที่ควบคุมกำกับผลิตภัณฑ์ ในลักษณะหลอกลวงทำให้ เข้าใจผิดในสาระสำคัญของผลิตภัณฑ์ โฆษณาเป็นเท็จหรือเกินความจริง และการโฆษณายา อาหาร และเครื่องมือแพทย์โดยไม่ได้ขออนุญาต อยู่ตลอดเวลาก่อให้เกิดผลเสียหายและไม่เป็นธรรมต่อ ผู้บริโภค จากการศึกษาพบว่า แม้ว่าการโฆษณาผลิตภัณฑ์เหล่านี้จะอยู่ภายใต้มาตรการควบคุมกำกับ ตามพระราชบัญญัติ ซึ่งเป็นกฎหมายควบคุมกำกับเฉพาะผลิตภัณฑ์ในอำนาจหน้าที่ของสำนักงาน คณะกรรมการอาหารและยา ที่มีอำนาจรัฐพิจารณาตรวจสอบก่อนให้มีการเผยแพร่ และตรวจสอบ หลังจากโฆษณาเผยแพร่แล้ว ซึ่งกฎหมายเหล่านี้ได้บังคับใช้มานานแล้ว บทบัญญัติในแต่ละ พระราชบัญญัติมีความแตกต่างทั้งการขออนุญาต การสั่งระงับการโฆษณา และบทลงโทษ นอกจากนี้ ในแต่ละมาตรากำหนดไม่ชัดเจน ต้องใช้ดุลพินิจในการตีความอย่างมาก ไม่สามารถบังคับใช้ให้เกิด ประสิทธิภาพและคุ้มครองผู้บริโภคได้ ประกอบกับการหาผลประโยชน์จากการโฆษณาของ ผู้ประกอบการโดยไม่คำนึงถึงคุณธรรมและจริยธรรม ผู้เขียนจึงเห็นว่า ควรเสนอแก้ไขบทบัญญัติกฎหมายทางด้านโฆษณาผลิตภัณฑ์แต่ละฉบับที่มี ความแตกต่างกันในการควบคุมกำกับให้เป็นแนวทางเดียวกัน นอกจากนี้ควรให้ภาคเอกชนเข้ามามี ส่วนร่วมรับผิดชอบ มีระบบการควบคุมกันเองโดยองค์กรวิชาชีพ เช่น สมาคมโฆษณาธุรกิจแห่ง ประเทศไทย หรือองค์กรอื่นๆ ในลักษณะเดียวกัน ร่วมกันช่วยพิจารณากลั่นกรองข้อความที่โฆษณา ของสมาชิกในสมาคมหรือองค์กร ก่อนที่จะมีการนำออกเผยแพร่สู่สาธารณชน ซึ่งการมีระบบควบคุม กันเองนี้ น่าจะเป็นวิธีการเหมาะสม เพื่อมิให้มีการโฆษณาที่ผิดกฎหมายเกิดขึ้น และเป็นการยกระดับ มาตราฐานของการโฆษณาให้มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น
There are some legal issues in relation to advertising of drugs and dietary supplements including medical supplies and cosmetics through websites. Multiple advertising strategies have been used namely indirect, ambient and comparative advertisements. It was found that these strategies have violated the law regulated those ad in terms of deceptive, untrue or exaggerate advertising that mislead the essences of the products. It was also found that the advertising of drugs, dietary supplements and medical supplies has not been requested for approval from the Food and Drug Administration (FDA). Damages and unfair consequences have been frequently affected to consumers. Although advertising activities of these products are regulated by the provisions of several legislations, each law will specifically regulate the products which are under the authority and responsibility of the Food and Drug Administration who are empowered with rights to inspect the products pre-advertising and postadvertising. However, the laws have been used for a long time where the provisions in each Act are relatively different such as application for permit, suspension of advertising and penalty. Additionally, there are some unclear contexts of each provision which require attentive interpretation. Enforcement of laws and protection to consumers could not be efficiently and effectively implemented. As a result, business entrepreneurs exploited this opportunity to advertise their products by lacking of good governance and ethical. This research proposes the amendment to those provisions of law on advertising of the products which have different enforcement in order to be in the same direction. Moreover, the business sector shall take part and be responsible for the amendments. There shall be self-regulatory professional institutions, i.e. Advertising Association of Thailand or other institutions of the same nature to cooperate in screening the statements or contents of the advertisement of their members prior to publicizing. An exercise of the self-regulatory authority is considered a suitable approach to help minimizing illegal advertisement as well as establishing the accreditation of the advertising industry.
Table of contents
Description
punsarn.dc.description.sponsorship
Spatial Coverage
Rights
This work is protected by copyright. Reproduction or distribution of the work in any format is prohibited without written permission of the copyright owner.
Access rights
Rights holder(s)
Location
View External Resources