An empirical study on organic product purchasing behavior : case study of Thailand

Published date
2012
Resource type
Publisher
Assumption University
ISBN
ISSN
DOI
Call no.
Other identifier(s)
Edition
Copyrighted date
Language
eng
File type
application/pdf
Extent
Other title(s)
Advisor
Other Contributor(s)
Assumption University. Martin de Tours School of Management and Economics
Citation
AU Journal of Management 10, 2 (July-December 2012), 31-39
Degree name
Degree level
Degree discipline
Degree department
Degree grantor
Abstract
The striking awareness of organic product purchase behavior has noticeably increased througho~t the world. However, little is known about consumers' purchase behavior of organic products in developing coun- tries such as Thailand. Few studies had been empirically investigated the relative importance of purchase behavior. The main purpose of the research is to examine the phenomena and to provide the empirical evidence of organic products purchase behavior in a developing country, namely Thailand. Fishbein andAjzen's Theory of Planned Behavior (TPB) is employed as the theoretical background. A self-administered questionnaire was developed and distributed to Thai consumers who purchased organic products in the last three months in Bangkok metropolitan areas. Six hundred thirty seven completed questionnaires were analyzed by using factor analysis in SPSS and Structure Equation Modeling (SEM). The empirical results confirmed that attitudes and perceived behavioral control components had impacts on organic products purchase behavior mediated by purchase intention. Specifically, four of the determinants: environment consciousness, appearance conscious- ness, perceived affordability, and perceived availability were significant factors of organic product purchase behavior in Thailand mediated by purchase intention.
พฤติกรรมการซื้อสินค้าออการ์นิคได้เพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัดทั่วโลก แต่น้อยมากที่ได้ทราบเกี่ยวกับพฤติกรรมการซื้อสินค้าออการ์นิคของผู้บริโภคในประเทศกำลังพัฒนา เช่น ประเทศไทย โดยกล่าวว่าที่ผ่านมามีผลการศึกษาเชิงประจักษ์อยู่น้อยที่เกี่ยวกับพฤติกรรมการซื้อ วัตถุประสงค์หลักของการวิจัยนี้คือการตรวจสอบปรากฎหารณ์และเพื่อให้ได้หลักฐานเลิงประจักษ์ของพฤติกรรมการซื้อสินค้าออการ์นิคในประเทศที่กำลังพัฒนา เช่นประเทศไทยโดยนำทฤษฎีของพฤติกรรมตามแผนถูกนำมาใช้เป็นพื้นฐานการศึกษานี้ ได้มีการพัฒนาแบบสอบถามเป็นแบบสอบถามด้วยตนเองและแจกจ่ายให้กับผู้บริโภคชาวไทยที่ซื้อสินค้าออร์กานิคในช่วงสามเดือนที่ผ่านมา ในเขตกรุงเทพมหานคร แบบสอบถามทั้งสิ้น 637 ฉบับได้ถูกวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์ปัจจัยใน SPSS และแบบจำลองสมการโครงสร้าง ผลการศึกษษพิสูจน์ให้เห็นว่าการศึกษานี้เป็นการขยายทฤษฎีของพฤติกรรมตามแผนในพฤติกรรมการซื้อสินค้าออร์กานิคในประเทศกำลังพัฒนาและค้นพบเชิงประจักา์ในด้สนความสัมพันธ์ของตัวแปรต้นและพฤติกรรมการซื้อจากผลกระทบของความตั้งใจที่จะซื้อราคาและรสชาติก็เป็นปัจจัยที่มีผลต่อของความตั้งใจซื้อที่สอดคล้องกับการศึกษาอื่นในหลายๆ บริบท จากผลการศึกษษยืยันว่าในประเทศไทย ทัศนคติและการรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมมีผลกระทบต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าออร์กานิคผ่านทางผลกระทบของความตั้งใจที่จะซื้อ โดยเฉพาะจากสี่ปัจจัยของ ด้านทัศนคติเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทัศคติเกี่ยวกับรูปลักษณ์ภายนอก การรับรู้ว่าสินค้าสามารถจับจ่ายได้และ การรับรู้ว่าสินค้าหาซื้อได้เป็นปัจจัยสำคัญของพฤติกรรมการซื้อสินค้าออร์กานิคในประเทศไทยผ่านผลกระทบของความตั้งใจที่จะซื้อ สำหรับนักปฏิบัติสินค้าออร์กานิคกลยุทธ์การตลาดด้านผลิตภัณฑ์นั้นสินค้าควรพัฒนาบนพื้นฐานของผลประโยชน์ที่แตกต่างจากสินค้าอื่น การกำหนดราคาตามมูลค่าเป็นกลยุทธ์ด้านราคา การจัดรายการพิเศษหรือจัดราคาพิเศษเป็นกลยุทธ์ด้านการประชาสัมพันธ์ไฮเปอร์มาร์เก็ตและห้างสรรพสินค้าเป็นกลยุทธ์ด้านกระจายสินค้า
Table of contents
Description
In English ; only abstract in English and Thai.
punsarn.dc.description.sponsorship
Spatial Coverage
Thailand
Rights
This work is protected by copyright. Reproduction or distribution of the work in any format is prohibited without written permission of the copyright owner.
Access rights
Rights holder(s)
Location
View External Resources