A review of emotional intelligence: Is it a trait or ability?

Published date
2009
Resource type
Publisher
ISBN
ISSN
DOI
Call no.
Other identifier(s)
Edition
Copyrighted date
Language
eng
File type
application/pdf
Extent
16 pages
Other title(s)
ประเด็นถกเถียงเรื่องความฉลาดทางอารมณ์ หรือ ความสามารถทางอารมณ์
Advisor
Other Contributor(s)
Citation
Association of Private Higher Education Institutions of Thailand (APHEIT) Journal Vol. 15, No.1 (May 2009), p. 160-175
Degree name
Degree level
Degree discipline
Degree department
Degree grantor
Abstract
Since the 1990s, emotional intelligence has gained enormous attention as a new construct that supplements cognitive intelligence in predicting life success. Cognitive intelligence has long been a traditional predictor of academic and business success. However, general intelligence explains about 20% of the factors that determine success in life (Golemen, 1995; Mayer & Salovey, 1997). Then, approximately 80% of life success is variously distributed among other factors such as personality traits, social skills, and environment. Emotional intelligence has been studied as a prominent factor among other success predictors. However, the conceptualization of emotional intelligence is still controversial. A major argument is whether emotional intelligence is a personality trait or ability. The major purpose of this paper is to provide a synthesis of previous studies for further discussion of three questions: (a) is emotional intelligence ability, (b) is emotional intelligence similar to personality traits, and (c) is emotional intelligence independent of cognitive intelligence.
การศึกษาเรื่องความฉลาดทางอารมณ์ได้รับความสนใจอย่างกว้างขวางตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2533 เป็นต้นมา ในฐานะตัวบ่งชี้ความสำเร็จในชีวิตนอกเหนือจากความฉลาดทางการเรียนรู้ ซึ่งเชื่อมานานว่าเป็นปัจจัยหลักในการชี้วัดความสำเร็จทางการศึกษา และการทำงาน ทั้งนี้ บทความวิจัยในอดีตชี้ว่าความฉลาดในเรื่องทั่วไปนั้น สามารถบ่งชี้ความสำเร็จในชีวิตได้เพียง 20 เปอร์เซ็นต์เท่านั้น ดังนั้น อีกประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ของการประสบความสำเร็จในชีวิตจึงมาจากปัจจัยอื่น อาทิเช่น ลักษณะนิสัย ทักษะทางสังคม และสิ่งแวดล้อม ความฉลาดทางอารมณ์ถือเป็นปัจจัยเด่นที่มีการศึกษามาตลอด ในฐานะตัวบ่งชี้ความสำเร็จที่สำคัญกว่าปัจจัยตัวอื่นอย่างไรก็ตาม การนิยามความฉลาดทางอารมณ์ยังคงเป็นประเด็นโต้แย้งว่า ความฉลาดทางอารมณ์ถือเป็นลักษณะนิสัย หรือ ความสามารถของบุคคล บทความวิชาการนี้ได้รวบรวมและสรุปผลงานวิจัยที่ผ่านมา โดยมีจุดประสงค์หลักเพื่อหยิบยกสามประเด็นคำถาม ได้แก่ ความฉลาดทางอารมณ์ถือเป็นความสามารถหรือไม่ ความฉลาดทางอารมณ์เหมือนกับลักษณะนิสัยหรือไม่ และ ความฉลาดทางอารมณ์เกี่ยวข้องกับความฉลาดทางการเรียนรู้หรือไม่
Table of contents
Description
punsarn.dc.description.sponsorship
Spatial Coverage
Subject(s)
Rights
Access rights
Rights holder(s)
Location
View External Resources
Collections