พลิกโฉมสังคมไทยในยุคโลกาภิวัตน์กับกระบวนการพัฒนาปัญญาตามหลักพระพุทธศาสนา

Published date
2561
Resource type
Publisher
ISBN
ISSN
DOI
Call no.
Other identifier(s)
Edition
Copyrighted date
Language
tha
File type
application/pdf
Extent
16 หน้า
Other title(s)
Transforming Thai Society in the Globalization of Wisdom Process Based on Buddhism Principles
Advisor
Other Contributor(s)
Citation
วารสาร มจร นครน่านปริทรรศน์ ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2561)
Degree name
Degree level
Degree discipline
Degree department
Degree grantor
Abstract
โลกในยุคการสื่อสารเทคโนโลยี ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสังคมไทยเป็นอย่างมาก การพัฒนาตนเองเพื่อเข้าสู่ กระบวนการศึกษาพัฒนาปัญญาตามหลักอริยมรรคจึงมีบทบาทสำคัญในการปรับสมดุลให้สังคมไทยสามารถรับมือกับการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นได้อย่างชาญฉลาด เนื่องจากการพัฒนาปัญญานี้ ส่งเสริมให้บุคคล รู้หลักในการคิด เข้าใจปัญหาแท้จริง มองปัญหาเป็น คิดเป็น และวางท่าทีได้ เหมาะสม ต่อบุคคลและสิ่งทั้งหลายที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์ จุดเริ่มต้น ของกระบวนการศึกษาทางปัญญาตามหลักอริยมรรคนี้ คือ การมีสัมมาทิฏฐิ การมีความคิดเห็น ความเชื่อที่ถูกต้อง และมองเห็นความเป็นไปของสิ่งหลายตามกฎธรรมดา แต่การที่จะได้เห็นเช่นนี้และแก้ปัญหาได้นั้น ต้องอาศัยปัจจัยทั้งภายนอก ที่เรียกว่า ปรโตโฆสะ และปัจจัยภายใน ที่เรียกว่า โยนิโสมนสิการ ปัจจัยภายนอกนี้ได้แก่ กัลยาณมิตร ที่คอยสั่งสอน แนะนำชักนำไปในทางทีดีงาม ส่วนโยนิโสมนสิการ เป็นหลักวิธีคิดตามหลักพระพุทธศาสนา ซึ่งสามารถแบ่งได้ เป็น 10 วิธี 1) วิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย 2) วิธีคิดแบบแยกแยะส่วนประกอบ 3) วิธีคิดแบบสามัญลักษณ์ 4) วิธีคิดแบบอริยสัจ 5) วิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์ 6) วิธีคิดแบบเห็นคุณโทษและทางออก 7) วิธีคิดแบบรู้คุณค่าแท้-คุณค่าเทียม 8) วิธีคิดแบบเร้ากุศล 9) วิธีคิดแบบอยู่กับปัจจุบัน 10) วิธีคิดแบบวิภัชชวาท เมื่อบุคคลมีปรโตโฆสะที่ดีแล้ว หมั่นฝึกฝนวิธีคิดโดยหลักโยนิโสมนสิการดีแล้ว ก็จะทำให้กระบวนการศึกษาปัญญาตามหลักอริยมรรคเป็นไปได้โดยเรียบร้อย กระบวนการศึกษานี้แบ่งได้เป็น 3 ส่วน ส่วนที่ 1 อธิสีลสิกขา ส่วนที่ 2 อธิจิตสิกขา ส่วนที่ 3 อธิปัญญาสิกขา
The growth of the world in the Digital age has caused significant changes on Thai society in various ways. Self-development in the area of obtaining the true wisdom through the Buddhist way could possibly view as a key role in dealing with it. As this Buddhist method for the development of oneself can wisely utilize the current crisis as opportunity to balancing the wheel of life in Thai Society. Moreover, it enables Thais to reflect their thoughts to see through problems and to solve them more properly. The start of the process for attaining the Buddhist true wisdom is gaining the Right Understanding. It means when one has Right Understanding, one will see the reality the way it is as natural law and as the causes and effects. However, for man to see the reality in such a way, it depends upon both external (Paratoghosa) and internal (Yonisomanasikara) factors. The external factor refers to a good friend who keeps telling us to do what a good manner. The other factor is regarded as a way of thinking in Buddhism which is classified into 10 types as follows: 1) going back to the root of the causes by associating with the relative effects, 2) thinking separately, 3) seeing the reality on the way it is, 4) thinking as the 4 Noble Truth, 5) being able to clearly see the relationship between Dharma (principles) and its purposes, 6) seeing through the problem and seeing the problem through like being an X-Ray and then coming up with the best solution, 7) realizing the fact between true value and artificial value, 8) moral teaching, 9) thinking in being here and now, and 10) analytical thinking. In conclusion, it is believed that one will finally achieved the true wisdom when one has got good friends and been developing himself through these ten ways of thinking. Besides, the process of true wisdom’s attainment is divided into 3 groups. The first is called Adhisilasikkha, training in higher morality. The second is known as Adhicittasikkha, training in higher mentality. The third is regarded as Adhipannasikkha, training in higher wisdom.
Table of contents
Description
punsarn.dc.description.sponsorship
Spatial Coverage
Subject(s)
Rights
Access rights
Rights holder(s)
Location
View External Resources
Collections