การพัฒนาพลเมืองไทยให้มีความเป็นพลเมืองโลกในประเทศไทยยุค 4.0

Published date
2561
Resource type
Publisher
ISBN
ISSN
DOI
Call no.
Other identifier(s)
Edition
Copyrighted date
Language
tha
File type
application/pdf
Extent
14 หน้า
Other title(s)
The Development of the Thai Citizen for Global Citizenship in Thailand 4.0
Advisor
Other Contributor(s)
Citation
วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 46 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม-กันยายน 2561) หน้า 86-99
Degree name
Degree level
Degree discipline
Degree department
Degree grantor
Abstract
บทความนี้มีความมุ่งหมายที่จะสรุปแนวคิดในการพัฒนาพลเมืองไทยให้มีความเป็น พลเมืองโลกในประเทศไทยยุค 4.0 ตามนโยบายของรัฐบาลที่มุ่งใช้นวัตกรรมเพื่อเพิ่มคุณค่า ทางเศรษฐกิจ (value-based-economy) ข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากในประเทศและต่างประเทศ ภายใต้ประเด็นต่อไปนี้ (1) การศึกษาเพื่อความเป็นพลเมืองโลก (2) ทักษะในศตวรรษที่ 21 (3) รายงานของ OECD และ UNESCO เรื่องการศึกษาของประเทศไทย และ (4) นโยบาย การศึกษาในประเทศไทย ได้ถูกสรุปและนำเสนอ พบว่าสิ่งที่สำคัญที่สุดที่ช่วยให้ประเทศ พัฒนาและควรแก่การให้ความสำคัญคือ ต้นทุนทางด้านประชากร (human capital) สถานศึกษาควรให้ความสำคัญต่อการบูรณาการการจัดการศึกษาเพื่อความเป็นพลเมืองโลกควบคู่ กับกระบวนการการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตร โดยมีเป้าหมายให้ผู้เรียนได้มีการพัฒนา คุณลักษณะของพลเมืองโลกใน 3 ด้าน คือ (1) ความรู้ความเข้าใจ (2) ทักษะด้านสติปัญญา และสังคม และ (3) ค่านิยมและทัศนคติที่มีต่อการเป็นพลเมืองโลก แนวทางต่อไปนี้นำเสนอ สำหรับนักเรียนไทยในโรงเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อช่วยพัฒนาความเป็นพลเมือง โลก ได้แก่ การให้ความรู้เรื่องความสำคัญของความเป็นพลเมืองโลก การออกแบบกิจกรรมยึด ตามเนื้อหาของหลักสูตรและความสนใจของผู้เรียน และการประเมินผลการเรียนการสอน จะทำเพื่อพัฒนาผู้เรียนเป็นสำคัญ
This article aims to summarize the practical ways to shape Thai citizenship for global citizenery Thailand 4.0 based on the Thailand government policy “Innovation-driven for the Valued-Based-Economy”. The author has studied and summarized the sources of information from national and international levels from related documents under the themes (1) global citizenship education, (2) 21st century skills, (3) the review on Thailand education by OECD and UNESCO, and (4) the Thailand education policy. The author found that the most important factor that Thailand should pay attention to is human capital for national development. Schools should pay attention to the following on the integration of the key elements for responsible global citizenship: (1) knowledge and understanding (2) skills (cognitive and social) (3) values and attitudes to the methods of teaching and learning in their own curriculum for the development of responsible global citizenship. The following were deemed practical ways: proposals for schools at basic education level are as follows: to inform the important issues of global citizenship, to design the activities based on the contents and respect the students’ interest, and the assessment of teaching and learning will be made for the development of learners.
Table of contents
Description
punsarn.dc.description.sponsorship
Spatial Coverage
Subject(s)
Rights
Access rights
Rights holder(s)
Location
View External Resources
Collections