Repository logo
  • English
  • ไทย
  • Log In
    New user? Click here to register. Have you forgotten your password?
external-link-logo
  • Communities & Collections
  • All of AU-IR
  1. Home
  2. Browse by Subject

Browsing by Subject "Dietary"

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z

  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ล
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ
Results Per Page
Sort Options
  • Item
    ปัญหาทางกฎหมายที่เกี่ยวกับการโฆษณาขายยาและผลิตภัณฑ์ เสริมอาหารเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ และเครื่องสำอางผ่านเวบไซต์
    ( 2559) ฉลองศักดิ์ ศิริกันรัตน์
    ปัญหาทางกฎหมายที่เกี่ยวกับการโฆษณาผลิตภัณฑ์ขายยาและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร เวชภัณฑ์ทางการแพทย์และเครื่องสำอางผ่านเวปไซด์ มีการโฆษณาส่งเสริมการขายในหลายรูปแบบ ลักษณะการโฆษณามีทั้งโฆษณาโดยตรงต่อผู้บริโภค โฆษณาแฝง และโฆษณาเปรียบเทียบ ซึ่งในแต่ ละรูปแบบพบการโฆษณาที่ฝ่าฝืนกฎหมายที่ควบคุมกำกับผลิตภัณฑ์ ในลักษณะหลอกลวงทำให้ เข้าใจผิดในสาระสำคัญของผลิตภัณฑ์ โฆษณาเป็นเท็จหรือเกินความจริง และการโฆษณายา อาหาร และเครื่องมือแพทย์โดยไม่ได้ขออนุญาต อยู่ตลอดเวลาก่อให้เกิดผลเสียหายและไม่เป็นธรรมต่อ ผู้บริโภค จากการศึกษาพบว่า แม้ว่าการโฆษณาผลิตภัณฑ์เหล่านี้จะอยู่ภายใต้มาตรการควบคุมกำกับ ตามพระราชบัญญัติ ซึ่งเป็นกฎหมายควบคุมกำกับเฉพาะผลิตภัณฑ์ในอำนาจหน้าที่ของสำนักงาน คณะกรรมการอาหารและยา ที่มีอำนาจรัฐพิจารณาตรวจสอบก่อนให้มีการเผยแพร่ และตรวจสอบ หลังจากโฆษณาเผยแพร่แล้ว ซึ่งกฎหมายเหล่านี้ได้บังคับใช้มานานแล้ว บทบัญญัติในแต่ละ พระราชบัญญัติมีความแตกต่างทั้งการขออนุญาต การสั่งระงับการโฆษณา และบทลงโทษ นอกจากนี้ ในแต่ละมาตรากำหนดไม่ชัดเจน ต้องใช้ดุลพินิจในการตีความอย่างมาก ไม่สามารถบังคับใช้ให้เกิด ประสิทธิภาพและคุ้มครองผู้บริโภคได้ ประกอบกับการหาผลประโยชน์จากการโฆษณาของ ผู้ประกอบการโดยไม่คำนึงถึงคุณธรรมและจริยธรรม ผู้เขียนจึงเห็นว่า ควรเสนอแก้ไขบทบัญญัติกฎหมายทางด้านโฆษณาผลิตภัณฑ์แต่ละฉบับที่มี ความแตกต่างกันในการควบคุมกำกับให้เป็นแนวทางเดียวกัน นอกจากนี้ควรให้ภาคเอกชนเข้ามามี ส่วนร่วมรับผิดชอบ มีระบบการควบคุมกันเองโดยองค์กรวิชาชีพ เช่น สมาคมโฆษณาธุรกิจแห่ง ประเทศไทย หรือองค์กรอื่นๆ ในลักษณะเดียวกัน ร่วมกันช่วยพิจารณากลั่นกรองข้อความที่โฆษณา ของสมาชิกในสมาคมหรือองค์กร ก่อนที่จะมีการนำออกเผยแพร่สู่สาธารณชน ซึ่งการมีระบบควบคุม กันเองนี้ น่าจะเป็นวิธีการเหมาะสม เพื่อมิให้มีการโฆษณาที่ผิดกฎหมายเกิดขึ้น และเป็นการยกระดับ มาตราฐานของการโฆษณาให้มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น

Contact Us

St. Gabriel's Library (Hua Mak Campus)
592/3 Soi Ramkhamhaeng 24, Ramkhamhaeng Rd., Hua Mak, Bang Kapi, Bangkok 10240, Thailand

(662) 3004543-62 Ext. 3403

library@au.edu

The Cathedral of Learning Library (Suvarnabhumi Campus)
88 Moo 8 Bang Na-Trad Km. 26 Bang Sao Thong, Samut Prakan 10570, Thailand

(662) 7232024

library@au.edu

Website:  www.library.au.edu