ผลการเปรียบเทียบฤทธิ์ในการต้านแบคทีเรียของส่วนประกอบในพริกแกงแดงในสูตรจําลองแกง ป่าและแกงกะทิต่อเชื้อ Salmonella Enterica 4,5,12:i:- (human) US clone

Published date
2012-09
Resource type
Publisher
คณะอุตสาหกรรมเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ISBN
ISSN
DOI
Call no.
Other identifier(s)
Edition
Copyrighted date
Language
tha
File type
application/pdf
Extent
9 หน้า
Other title(s)
Antibacterial activity of Thai red curry paste’s ingredients between using Kang-Pa and Kang- Kati model on Salmonella Enterica 4,5,12:i:- (human) US clone
Advisor
Other Contributor(s)
Citation
การประชุมวิชาการอุตสาหกรรมเกษตร สจล. ครั้งที่ 1, 7 กันยายน 2555 คณะอุตสาหกรรมเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ p 140-148
Degree name
Degree level
Degree discipline
Degree department
Degree grantor
Abstract
จากการศึกษาฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียของส่วนประกอบหลักของพริกแกงซึ่งประกอบด้วยสมุนไพรเจ็ดชนิด คือ พริก (Capsicum annuum), มะกรูด (Citrus hystrix), ยี่หร่า (Cuminum cyminum L.), หอมแดง (Allium ascalonicum L.), กระเทียม (Allium sativum), ตะไคร้ (Cymbopogon citrates), และ ข่า (Alpinia galangal) ในสูตรจําลองแกงป่า และ แกงกะทิกับเชื้อ Salmonella Enterica 4,5,12:i:- (human) US clone โดยใช้วิธี agar diffusion method ลงบนอาหาร เลี้ยงเชื้อ Sallmonella Shigella ภายใต้การสกัด 3 สภาวะ โดยใช้การปรุงแบบอาหารในครัวเรือน คือ แกงป่าใช้น้ําในการ สกัด แกงกะทิใช้กะทิยูเอชที และ กะทิสดในการสกัด ผลจากสารสกัดทั้งสามชนิด แสดงให้เห็นว่าแกงกะทิที่ใช้กะทิสดใน การสกัดมีศักยภาพสูงสุดในการยับยั้งเชื้อ S. Enterica 4,5,12:i:- (human) US clone โดยในกระเทียม และ เม็ดยี่หร่าพบ ฤทธิ์ต้านแบคทีเรีย 0.90 ± 0.14cm ในแกงกะทิที่ใช้กะทิยูเอชที พริกแห้งให้ฤทธิ์ต้านแบคทีเรียที่สูงที่สุดคือ 0.93±0.12cm และในแกงป่าในพริกแห้ง และ หอมแดงให้ฤทธิ์ต้านแบคทีเรียคือ 0.80 ± 0.00cm ในการหาค่าความเข้มข้นต่ําสุดที่ สามารถยับยั้งเชื้อ (MICs) โดยใช้วิธี broth dilution method, กระเทียมและผงยี่หร่าพบ160 µl/mlใน แกงกะทิโดยใช้กะทิ สด พริกแห้งในแกงกะทิโดยใช้กะทิยูเอชทีพบ80µl/ml ส่วนในแกงป่าพริกแห้งพบ80 µl/mlและหอมแดงพบ 160µl/ml ส่วนประกอบพริกแกงแสดงให้เห็นฤทธิ์ต้านแบคทีเรียที่มีแนวโน้มอย่างมีนัยสําคัญต่อ S. Enterica 4,5,12:i:- (human) US clone ชี้ให้เห็นว่าพริกแกงเป็นอาหารที่มีสารออกฤทธิ์ในการป้องกัน
Thai red curry paste consists of herbs which have potential to be natural antibacterial agents. Therefore 7 herbs of Thai curry paste; consisting of Chili (Capsicum annuum), Kaffir lime (Citrus hystrix), Cumin (Cuminum cyminum L.), Shallot (Allium ascalonicum L.),Garlic (Allium sativum), Lemongrass (Cymbopogon citrates), and Galangal (Alpinia galangal), were investigated for their individual antibacterial activity on Salmonella Enterica 4,5,12:i:- (human) US clone by agar diffusion method on Salmonella Shigella Agar under 3 extraction models; Kang-Pa and Kang-Kati (UHT and fresh coconut milk). In vitro antibacterial screening results, garlic and cumin in Kang-Kati model using fresh coconut milk showed highest antibacterial; 0.90±0.14cm. Kang-Kati using UHT coconut milk, dry chili showed the highest antibacterial activity; 0.89±0.16cm. Kang-Pa model, dry chili and shallot gave antibacterial activity; 0.80±0.00cm. Minimum inhibitory concentration, using broth dilution method, garlic and cumin showed 160µl/ml in fresh coconut milk Kang-Kati. In UHT coconut milk Kang-Kati, dry chili showed 80µl/ml and Kang-Pa, dry chili showed 80µl/ml and shallot showed 160µl/ml. Thai red curry paste ingredients showed the significantly promising antibacterial activity against S. Enterica 4,5,12:i:- (human) US clone. It can be recommended that Thai red curry is functional food.
Table of contents
Description
punsarn.dc.description.sponsorship
Spatial Coverage
Subject(s)
Rights
Access rights
Rights holder(s)
Location
View External Resources